
1. เก็บเงินไว้ใช้ในกรณี ฉุ ก เ ฉิ น
อย่าชะล่าใจคิดว่ามีงานทำแล้วจะมีรายได้ที่มั่นคง ยิ่งในยุคเศรษฐกิจแปรปรวนแบบนี้
ไม่มีใครล่วงรู้ล่วงหน้าได้เลยว่าจะเกิดเหตุการณ์ไม่คาดฝันเมื่อไหร่ ไหนจะเรื่อง อุ บั ติ เ ห ตุ
หรือการ เ จ็ บ ไ ข้ ไ ด้ ป่ ว ย ที่ล้วนต้องใช้เงินเกินจากรายจ่ายประจำที่จำเป็น
ดังนั้นการมีเงินเก็บเป็น ‘กระเป๋าสำรอง’ จึงเป็นสิ่งที่ต้องมี
2. หาทางทำให้เงินเพิ่มพูน
จะดีสักเพียงไหน ถ้าตัวเลขในบัญชีมีการเพิ่มจำนวนขึ้นเรื่อย ๆ โดยที่
ไม่ต้องทำอะไรให้เหนื่อยเพิ่มขึ้น และนั่นก็หมายถึง ‘ ก า ร ล ง ทุ น ’
ตามแนวทางที่ถนัด ไม่ว่าจะเป็นการ ล ง ทุ น ในหุ้น หรือกองทุนต่าง ๆ
อย่างไรก็ดีกว่าแช่เงินไว้เฉย ๆ ให้ค่าของเงินลดลงตามภาวะเงินเฟ้อ
ที่ไม่เคยปราณีใคร
3. หยุดฟุ่มเฟือย
ฃ‘ของดี’ ไม่จำเป็นจะต้องมีราคาที่สูงเสมอไป การใช้จ่ายอย่างชาญฉลาด
คือรู้จักเลือก ซื้ อ ของที่มีคุณภาพ มีความทนทาน คุ้มค่ากับเงินที่เสียไป
อย่าเสียเงิน ซื้ อ ความหรูหราเพื่อหน้าตาทางสังคม
4. วางแผนการใช้เงิน
หากไม่รู้จะเริ่มต้นที่ตรงไหน ลองเริ่มจากการทำบัญชีจดบันทึกรายรับรายจ่าย
จะทำให้เข้าใจพฤติกรรมการใช้เงินของตัวเองได้มากขึ้น และ
ลองนำมาพิจารณาความจำเป็นของแต่รายการ จะพบว่าอะไรที่สามารถตัด
หรือลดลงได้ อาจช่วยให้แต่ละเดือนมีเงินเหลือเก็บมากยิ่งขึ้น
5. รู้จัก ‘ขัดใจ’ ตัวเอง
การตามใจปากทำให้อ้วนฉันใด การ โ อ น อ่ อ น ตามกิเลสในใจก็ทำให้
เงินในกระเป๋าแฟ่บได้เช่นกัน จริงอยู่ที่เราควรให้รางวัลกับชีวิตที่เหน็ดเหนื่อย
จากการทำงานบ้าง แต่ก็ควรกำหนดวงเงินรางวัลนั้นตามสมควร
และอย่าสปอยตัวเองบ่อยจนเกินไป แค่เดือนละครั้งก็มากพอ
6. ปรึกษาเรื่องเงินกับคนที่ไว้วางใจได้
หากต้องการที่ปรึกษาในเรื่องของการ ล ง ทุ น ก่อนอื่นควรศึกษาข้อมูล
การ ล ง ทุ น ขั้นพื้นฐานด้วยตัวเอง แล้วจึงทำการหารายละเอียด
ของผู้ให้คำปรึกษาที่น่าไว้วางใจ อาจเลือกที่มีหน่วยงานหรือ
สถาบันรองรับเพื่อความอุ่นใจว่าจะไม่ถูกโกงง่าย ๆ
7. รู้จัก พ ลั ง แห่งการออม
เชื่อว่าเราทุกคนล้วนถูกปลูกฝังให้รู้จักการออมกันมาตั้งแต่เด็ก และ
เล็งเห็นคุณค่าของเงินที่แม้จะเป็นเพียงเงินเล็กน้อยแต่หาก
นำมารวมกันมากเข้าก็สามารถเป็นจำนวนเงินก้อนมหาศาลได้
ลองตั้งเป้าในการหาเงิน และเก็บเงินให้ได้ในแต่ละเดือน
แม้จะไม่ใช่จำนวณมากมายอะไร แต่ก็ดีกว่ายอดเงินในบัญชีเป็นเลข ‘0’ นะ
ข้อมูลจาก liverichlyspendsimply