
หากคุณเป็นคนหนึ่งที่อย ากมีชีวิตที่ ไม่ลำบ าก เมื่อชีวิตที่แก่ตัวไป เพราะทุกวันนี้เราจะรอหวังพึ่งแต่คนอื่นไม่ได้แล้ว
โดยเฉพาะเรื่องของเงินทองที่เราต้องรู้จักวางแผนการใช้จ่ายเพื่อเป็นประโยชน์ต่อตัวเราเองวันนี้เราจะพาคุรมาสร้างตัว เพื่อให้มีเงิน เก็บใช้จ่ายเมื่อแก่ตัวไป จะมีอะไรบ้างไปดูกันเลย
1. คิดเรื่อง วางแผนเกษียณ กันหรือยัง
ถ้าเราแก่ ต้องแก่แบบมีเงินครับ เพราะอย ากให้วางแผนเกษียณกันไวๆ ยิ่งวางเร็วยิ่งดี เพราะการเริ่มต้นตั้งแต่วันนี้ ก็
เพื่อผลประโยชน์ของเราเอง จะได้ไม่เป็นภาระคนอื่นเขาไง
2. รู้จักบริหาร ความ เ สี่ ย ง
การที่มีสติ มันช่วยให้เราผ่านทุกปัญหาได้ง่ายขึ้น เพราะสิ่งที่เราจะพูด มันคือเรื่องของความ เ สี่ ย ง ต่างๆ ที่มันอาจเกิ ดขึ้น ไม่ว่าคุณจะโส ดหรือมีครอบครัวก็ตามความเสี่ ยงที่ควรพิจารณา มี 3 อย่างความ เ สี่ ย ง ในการดำเนินชีวิต
หากวันหนึ่งเพื่อนๆ ขับรถแล้วเกิดอุบั ติเห ตุ เรามีประกั นภั ยรถยนต์ไหม แล้วจะ ซื้ อ มั้ย แล้วถ้า ซื้ อ แบบไหนดีล่ะ? ความ เ สี่ ย ง ด้านชีวิต..หากเรา เ จ็ บ ป่ ว ย หรือ เกิด เ ห ตุไม่คาดคิด ครอบครัวจะต้องลำบ ากแน่
เพราะขาดกำลังสำคัญใช่ไหมถ้าคำตอบคือใช่ ก็ลองบริหารความเสี่ ยงโดยการซื้ อประกั น จงเปลี่ยนตัวเองด้วยการเรียนรู้เพิ่มเติมเพื่อความฉลาดมากขึ้นอย่ าไปโท ษคนอื่น
จากปัญหาของตัวเองความ เ สี่ ย ง ด้านทรัพย์สิน..หมายถึงว่าหากเราหยุดทำงาน เรามีความพร้อมรึยัง หากไม่มีเงินฉุ กเฉิ น เราจะอยู่อย่างไร
3. มีเงินสำรอง อย่างน้อยๆ ก็ 6 เดือน
นั่นเพราะเงินจำนวนนี้ จะช่วยให้เราสามารถรับมือกับปัญหา ด้านการเงินได้ดีโดยไม่ต้องยืมใครเขาเพราะการกู้ อาจจะทำให้เรากลับเข้าไปอยู่ในวงจรหนี้
4. ศึกษาเรื่องภ า ษี เอาไว้
รายได้ยิ่งมากก็ต้องจ่ายภ า ษี ที่มากขึ้น ถือเป็น กฎหม ายที่ทุกคนต้องปฏิบัติตามอยู่ แล้วสิ่งที่เพื่อนๆ ควรศึกษา
คือที่เกี่ยวข้องกับภ า ษี ไม่ว่าจะเป็นการลดหย่อน หรือการละเว้น
5. ปลดหนี้ให้หมด เท่าที่ทำได้
ก็เพราะว่า ยิ่งปลดหนี้เร็วเท่าไหร่ เราก็สามารถนำเงินไปทำอย่างอื่นได้มากขึ้นและถ้าเรา ไม่แน่ใจว่าจะปลดหนี้ยังไง
แนะนำให้เริ่มจากดูว่าเรา มีหนี้ทั้งหมดกี่ร าย เป็นจำนวนเท่าไหร่ อัตรา ด อ ก เบี้ ยแค่ไหน ต่อไปก็ให้จัดลำดับหนี้ ให้หนี้ที่มีอัตร า ด อ กเบี้ยสูง อยู่ด้านบน
และทยอยปลดหนี้จากก้อนนั้นก่อนแล้วค่อยๆ ปิดก้อนอื่นๆ ไปเรื่อยๆ ต่อไปจนหมด
6. รู้ตัวเองให้ได้ว่า มีอะไรมากกว่ากัน “ทรัพย์สิน” หรือ “หนี้สิน”
ถ้ารายจ่ายสูงพอ ๆ กับรายรับ สิ่งแรกเลยนะที่ควรใส่ใจ คือ ลิสต์รายการของทรัพย์สิน เทียบกับหนี้สินที่มีถ้าหากมานั่งงงว่าเราก็มีสินทรัพย์เยอะเหมือนกันนี่หว่า
เช่น มือถือรุ่นใหม่ๆ กล้องถ่ายรูป หรืออื่นๆ มากมายแต่เหตุใดยังจนอยู่ คิดง่าย ๆ มือถือจำนวนหนึ่งเครื่อง ราค าประมาณ 25,000 – 30,000 เชียวนะแต่ราคาขายต่อมูลค่ามันหายไปแทบจะครึ่งนึงแล้วล่ะ
พอมองภาพออกแล้วใช่ไหมเพราะงั้นเราต้องเริ่มกลับมาวางการเงินตัวเองได้แล้ว เช่น สะสมทรัพย์สิน ที่ก่อให้เกิดร ายได้ เช่น หุ้ น กองทุ น
7. สร้างงบการเงิน
แม้จะหาเงินได้มากแค่ไหนหากบริหารเงินไม่ดี เงินที่ได้มาก็คงหมดไปง่ายๆ เช่นกันเพราะฉะนั้น
สิ่งที่เพื่อนๆ ต้องให้ความสนใจในลำดับถัดมานั่นคือ คือการสร้างงบรายจ่ายเริ่มต้นจากงบการเงิน50 -30 -20 ดูสิ (สิ่งจำเป็น, สิ่งอย ากได้, ออม ฉุ ก เ ฉิ น) อาจจะช่วยได้
ขอขอบคุณ a o m m o n e y